จำนวนผู้เข้าชม |
|
|
|
 |
ไข่เค็มไชยา
เป็นไข่เค็มที่มีชื่อเสียงกล่าวขวัญกันทั่วไป การทำไข่เค็มไชยา ใช้ไข่เป็ดจากอำเภอไชยา ซึ่งมีไข่แดงมากและไม่คาวเหมือนไข่เป็ดทั่วไป |
|
|
 |
 |
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
คำว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ ภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึงความรู้ของชาวบ้านในท้องถิ่น ซึ่งได้มาจากประสบการณ์ และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมทั้งความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง |
 |
ความรู้เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาชาวบ้าน หมายถึงความรู้ของชาวบ้าน ซึ่งเรียนรู้มาจากพ่อแม่ปู่ย่าตายายญาติพี่น้อง หรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่างๆ ความรู้เหล่านี้สอนให้เด็กเคารพผู้ใหญ่ มีความกตัญญูรู้คุณพ่อแม่และผู้มีพระคุณ มีความเอื้ออาทรต่อคนอื่น รู้จักช่วยเหลือแบ่งปันข้าวของของตนให้แก่ผู้อื่น |
|
|
 |
 |
ประเพณีลากพระหรือชักพระ
เป็นประเพณีเนื่องในพุทธศาสนากระทำหลัง
จากวันมหาปวารณาหรือวันออกพรรษา 1 วัน
ตรงกับวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 โดยพุทธศานาสนิกชนพร้อมใจกันอาราธนา
พระพุทธรูปขึ้นประดิษฐานบน
บุษบกที่ วางอยู่เหนือเรือรถ
|
 |
ผัดไทยไชยา
อาหารขึ้นชื่อมีชื่อเสียงโด่งดังไปทั่ว ด้วยรสชาติน้ำผัดไทยที่เข้มข้น เป็นอาหารที่นิยมรับประทานกันทั่วไป
|
|
|
|
 |
 |
ผ้าไหมพุมเรียง
เป็นงานศิลปหัตถกรรมที่ทำกันในกลุ่มหมู่บ้านชาวไทยมุสลิม ที่ตำบลพุมเรียง อำเภอไชยา แต่เดิมชาวไทย มุสลิมพุมเรียงทอผ้าสำหรับใช้เองในครอบครัว ในงานแต่งงานหรือทำพิธีสุเหร่า ซึ่งจะเห็นได็ว่าแต่ละครอบครัวจะมีกี่กระตุกอยู่ แทบทุกบ้าน แต่ภายหลังเมื่อมีความต้องการมากขึ้น |
 |
เงาะพันธุ์โรงเรียน
เป็นผลไม้ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดของจังหวัดสุราษฎร์ธานี และของประเทศ เป็นเงาะที่มีรสชาติหวานและกรอบ ปลูกกันมากในจังหวัดสุราษฎร์ธานี |
|
|
|